1.ทฤษฎีการเรียนรู้เป็นอย่างไร
ดร. โกวิท วรพิพัฒน์ (2517:175) เป็นจัดการเรียนการสอนที่ทำให้ผู้เรียนเกิดพฤติกรรมหรือคุณลักษณะคิดเป็น
วิธีการเรียนการสอนต้องมีประเด็นปัญหาเพื่อทำให้เกิดกระบวนการแก้ปัญหา
R. Gordon ได้กล่าวในปี ค.ศ. 1998 เป็นการจัดการเรียนการสอนที่ผู้เรียนสำคัญที่สุดที่ทุ่งให้ผู้เรียนได้ฝึกกระบวนการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และปฏิบัติจริงเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ เกิดปัญญาอันส่งผลให้สามารถแก้ปัญหาเองได้ นอกจากนี้การเรียนการสอนยังมุ่งเน้นให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ และให้สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในชีวิตจริงได้
Jack D. Mazirow เสนอทฤษฎีนี้ในปี ค.ศ. 1978 เป็นการเรียนรู้กระบวนที่บุคคลตีความหรือแปลความหมายจากประสบการณ์เก่าเพื่อการพัฒนา ทบทวน แล้วแปลความหมายของประสบการณ์นั้น และนำไปสู่การปฏิบัติต่อไป
T.G. Sticht ได้กล่าวในปี ค.ศ. 1975 เป็นการเรียนรู้ในสิ่งที่สัมพันธ์กับประประสบการณ์ของผู้เรียนและในบริบทการทำงานของผู้เรียน การพยายามให้ผู้เรียนได้เชื่อมโยงความรู้ใหม่เข้ากับความรู้เดิมที่มีอยู่
สรุปได้ว่า เป็นทฤษฎีการเรียนรู้ที่นำมาใช้ในการจัดให้เกิดการเรียนรู้ในการศึกษานอกระบบ โดยมุ่งการเสริมสร้างและนำความรู้ประสบการณ์ของผู้เรียนมาใช้ สอดคล้องกับความจำเป็น เรียนจากประสบการณ์มีการสร้างความรู้ด้วยตนเอง ทั้งนั้นเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนที่มีวุฒิภาวะ มีความรับผิดชอบเพื่อสร้างให้เป็นผู้เรียนตลอดชีวิต
บรรณานุกรม
วรรัตน์ อภินันท์กูล. แนวคิดและทฤษฎีที่น่ารู้ทางการศึกษานอกระบบโรงเรียน.- - กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2551. 272 หน้า.
Gordon, R. A Curriculum for Authentic leaning. The Education Digest,63,4-8,1998
Mezirow,Jack D. Transions of Adut Lening San Francisco, CA: Jossey- Bass,1991.
Stitch, T.G. Fanctional Context. http:// tip. Psychology. Org / Stich.html.
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น